สรุปบทที่ 4,5,6
บทที่ 6 การจัดไฟล์เเละโฟรเดอร์
การจัดการไฟล์และโฟลเดอร์1. การสร้างโฟลเดอร์
การสร้างโฟลเดอร์ คือ การสร้างห้องเพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อสะดวกในการเรียกใช้งาน มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. เข้าไปที่หน้าที่ที่เราจะเก็บโฟลเดอร์แล้วคลิกมาส์ขวา
2. คลิกที่คำสั่ง New เลือก Folder
3. ตั้งชื่อโฟลเดอร์ Student
4. จะปรากฏโฟลเดอร์ Student ตามที่เราต้องการ
2. การเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์
การสำเนาหรือการลบไฟล์ทีไม่ต้องการจะต้องทำการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์เสียก่อน ซึ่งวินโดวส์ XP มีรุปแอบบการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์หลายรูปแบบแล้วแต่ความต้องการและการใช้งาน ซี่มีรายละเอียดดังนี้
2.1 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์เดียว
1. คลิกเมาส์เลือกไฟล์ที่ต้องการ
2.2 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่เรียงอยู่ติดกัน
1. เลือกไฟล์ที่เราต้องการ
2. กดปุ่ม Shift ค้างไว้
3. เลือกไฟล์สุดท้ายและปล่อยปุ่ม Shift
2. เมื่อคลุมไฟล์หรือโฟลเดอร์แล้วให้ปล่อยเมาส์
2.4 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ไม่อยู่ติดกัน
1. เลือกไฟล์แรก
2. กดปุ่ม Ctrl ค้างไว้
3. เลือกไฟล์ต่อไปจนครบแล้วปล่อยปุ่ม Ctrl
2.5 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์
1. คลิกที่เมนู Edit เลือกคำสั่ง Select All
2.6 การเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์
1. คลิกเมาส์ขวาโฟลเดอร์ที่ต้องการเปลี่ยนชื่อ
2. เลือกคำสั่ง Rename แล้วทำการเปลี่ยนชื่อ (School)
3. ชื่อโฟลเดอร์ก็จะเปลี่ยนเป็น School
4. การจัดเรียงไฟล์หรือโฟลเดอร์
ปกติเราจัดเรียงไฟล์หรือโฟลเดอร์จะเรียงตามชื่อของไฟล์หรือโฟลเดอร์ ถ้าต้องการเรียงตามความต้องการ สามารถเรียงได้หลายรูปแบบดังนี้
1. คลิกเลือก View เลือก Arrange Icons หรือคลิกขวาตรงที่ว่างแล้วคลิกเลือก Arrange Icons by
2. คลิกเลือกรูปแบบการจัดเรียงตามต้องการซึ่งมีหลายรูปแบบดังนี้
Name เรียงตามชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์
Total เรียงตามขนาดความจุของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Type เรียงตามชนิดของไฟล์
Modified เรียงตามวันที่/เวลาที่แก้ไขหลังสุด
Show in Group เรียงตามกลุ่มตัวอักษรแรกของชื่อ
Auto Arrange เรียงเป็นแถวโดยอัตโนมัติ
Align to Grid เรียงให้เป็นแถงตามตาราง Grid
5. การลบไฟล์หรือโฟลเดอร์
การลบไฟล์หรือโฟลเดอร์มีอยู่ 2 แบบ คือ ลบด้วยคำสั่ง กับ ลบด้วยการลากย้าย ซึ่งการลบไฟล์หรือโฟลเดอร์ทั้ง 2 แบบนี้ จะยังไม่เป็นการลบจริง เพียงแต่เป็นการย้ายไฟล์ หรือโฟลเดอร์เหล่านั้นไปเก็บไว้ในโฟลเดอร์ Recycle Bin เท่านั้น ซึ่งวิธีการลบทั้ง 2 แบบมีดังนี้
5.1 การลบไฟล์หรือโฟลเดอร์ด้วยคำสั่ง
ก่อนที่เราจะทำการลบไฟล์ให้สร้างโฟลเดอร์ตัวอย่างชื่อ Student ไว้ที่ไดรฟ์ D: ก่อน จึงทำการลบโฟลเดอร์ Student เพื่อป้องกันโฟลเดอร์สำคัญของเราถูกลบทิ้ง
1. เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้ง แล้วคลิกขวาที่โฟลเดอร์นั้น
2. คลิกเลือกคำสั่ง Delete
3. โปรแกรมจะถามว่าต้องการลบโฟลเดอร์ชื่อ Student ใช่หรือไม่
4. คลิก Yes
5. โฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้งจะหายไปแต่จะไปอยุ่ที่ Recycle Bin แทน
5.2 การลบโฟลเดอร์ด้วยการลากย้าย
1. คลิกโฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้งค้างไว้
2. ลากไปปล่อยในถังขยะ (Recycle Bin)
6. การกู้ไฟล์หรือโฟลเดอร์กลับคืนมา
เมื่อได้ทำการลบไฟล์หรือโฟลเดอร์แล้ว แต่อยากกู้กลับคืนมา สามารถปฏิบัติได้ดังนี้
1. ดับเบิ้ลคลิกที่ Recycle Bin
2. คลิกขวาโฟลเดอร์ที่เราต้องการรู้คืน แล้วเลือก Restore
3. โฟลเดอร์ Student ที่เคยลบทิ้งก็จะกลับมาใช้งานได้เหมือนเดิม
7. การลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ใน Recycle Bin
การลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ใน Recycle Bin จะเป็นการลบข้อมูลไปจากเครื่องที่ไม่สามารถที่จะกู้กลับมาได้อีก มีวิธีการดังต่อไปนี้
7.1 การลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ทั้งหมดใน Recycle Bin
1. คลิกเมาส์ขวาที่ไอคอน Recycle Bin เลือก Empty Recycle Bin
2. โปรแกรมจะถามว่ายืนยันการลบข้อมูลทั้งหมดใน Recycle Bin ซึ่งมีทั้งหมด 8 ไอเท็มใช้หรือไม่ คลิกปุ่ม Yes
3. ไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ที่มีอยู่ใน Recycle bin ทั้งหมดก็จะถูกลบทิ้งไป
7.2 การเลือกลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ใน Recycle Bin
1. ดับเบิ้ลคลิกเข้าไปที่ Recycle Bin
2. คลิกขวาที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้ง แล้วเลือกคำสั่ง Delete
3. โปรแกรมจะถามเราว่าเราจะยืนยันการลบโฟลเดอร์ชื่อ Student หรือไม่ คลิกปุ่ม Yes
4. โฟลเดอร์ ชื่อ Student ก็จะหายไปเพียงโฟลเดอร์เดียว
8. การสำเนาไฟล์หรือโฟลเดอร์
การสำเนาไฟล์หรือโฟลเดอร์คือการคัดลอกหรือย้ายข้อมูล อาจเป็นไฟล์หรือโฟลเดอร์ก็ได้ มีวิธีการสำเนาง่าย ๆ 2 แบบ คือ การสำเนาด้วยคำสั่ง และการสำเนาด้วยการลากไปปล่อย
8.1 การสำเนาด้วยคำสั่ง
1. คลิกเมาส์ขวาโฟลเดอร์ที่จะทำการสำเนา
2. เลือกคำสั่ง Copy หรือกด Ctrl + C
3. เลือกไดรฟ์หรือปลายทางที่จะนำโฟลเดอร์ที่ทำการสำเนาไปวาง
4. คลิกเมาส์ขวาบนที่ว่างแล้วเลือก Paste หรือกด Ctrl+V
5. จะได้ โฟลเดอร์ My Picture อีกหนึ่งโฟลเดอร์ที่ไดรฟ์ D:
8.2 การสำเนาด้วยการลากไปปล่อย
1. คลิกเมาส์ค้างโฟลเดอร์ที่จำทำสำเนา
2. ลากเมาส์ไปปล่อยในโฟลเดอร์หรือไดรฟ์ปลายทางที่ต้องการ
3. จะได้ โฟลเดอร์ My Picture อีกหนึ่งโฟลเดอร์ที่ไดรฟ์ D:
9. การเรียกดูและแก้ไขคุณสมบัติของไฟล์หรือโฟลเดอร์
วินโดวส์ XP จะเก็บรายละเอียดของไฟล์และโฟลเดอร์ไว้เช่นขนาดของไฟล์ วันที่สร้างไฟล์หรือประเภทของไฟล์และยังสามารถกำหนดคุณสมบัติ แอตทริบิวท์ ได้อีกด้วยซึ่งมีวิธีทำดังนี้
1. คลิกเมาส์ขวาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการเรียกดูและแก้ไข เลือก Properties จะปรากฏหน้าต่าง Properties ของไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น
2. ชื่อของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Type ชนิดของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Location ที่อยู่ของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Size on disk ขนาดของข้อมูลไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่มีอยู่จริง
Contains จำนวนไฟล์และโฟลเดอร์
Created วันที่ และเวลาที่สร้างไฟล์หรือโฟลเดอร์ขึ้นมา
Attributes คุณสมบัติ ของไฟล์หรือโฟลเดอร์ สามารถเปลี่ยนได้มีให้เลือก 2 แบบ
1. Read-only คือ ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียวห้ามลบหรือแก้ไข
2. Hidden คือ ซ่อมไฟล์หรือโฟลเดอร์
3. คลิกปุ่ม OK
10. การค้สหาไฟล์หรือโฟลเดอร์
ในการหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ไม่รู้ที่อยู่ ในโปรแกรมวินโดวส์มีโปรแกรม Search เพื่อใช้ในการหาไฟล์ที่ต้องการ เพียงระบุไดรฟ์ และชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการค้นหา แล้วคลิก Search โปรแกรมจะทำการค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ ซึ่งมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. คลิก Start เลือกโปรแกรม Search
2. จะปรากฏหน้าต่าง Search Results
3. คลิกเลือก All files and folders
4. ใส่ชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการในช่อง All or part of the file name:
5. เลือกไดรฟ์หรือที่อยู่ของไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการในช่อง Look in :
6. คลิก Search
7. โปรแกรมจะทำการค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ
8. คลิกปุ่ม Stop เพื่อหยุดการ Search เมื่อพบไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการแล้ว
9. เมื่อพบไฟล์หรือโฟลเดอร์ทางช่องด้านขวาของโปรแกรม Search จะบอกรายละเอียดของไฟล์หรือโฟลเดอร์ เช่น ชื่อ ที่อยู่และชนิดของไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น ๆ
การสร้างโฟลเดอร์ คือ การสร้างห้องเพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อสะดวกในการเรียกใช้งาน มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. เข้าไปที่หน้าที่ที่เราจะเก็บโฟลเดอร์แล้วคลิกมาส์ขวา
2. คลิกที่คำสั่ง New เลือก Folder
3. ตั้งชื่อโฟลเดอร์ Student
4. จะปรากฏโฟลเดอร์ Student ตามที่เราต้องการ
2. การเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์
การสำเนาหรือการลบไฟล์ทีไม่ต้องการจะต้องทำการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์เสียก่อน ซึ่งวินโดวส์ XP มีรุปแอบบการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์หลายรูปแบบแล้วแต่ความต้องการและการใช้งาน ซี่มีรายละเอียดดังนี้
2.1 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์เดียว
1. คลิกเมาส์เลือกไฟล์ที่ต้องการ
2.2 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่เรียงอยู่ติดกัน
1. เลือกไฟล์ที่เราต้องการ
2. กดปุ่ม Shift ค้างไว้
3. เลือกไฟล์สุดท้ายและปล่อยปุ่ม Shift
- ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่อยู่ใกล้กัน
2. เมื่อคลุมไฟล์หรือโฟลเดอร์แล้วให้ปล่อยเมาส์
2.4 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ไม่อยู่ติดกัน
1. เลือกไฟล์แรก
2. กดปุ่ม Ctrl ค้างไว้
3. เลือกไฟล์ต่อไปจนครบแล้วปล่อยปุ่ม Ctrl
2.5 ต้องการเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์
1. คลิกที่เมนู Edit เลือกคำสั่ง Select All
2.6 การเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์
1. คลิกเมาส์ขวาโฟลเดอร์ที่ต้องการเปลี่ยนชื่อ
2. เลือกคำสั่ง Rename แล้วทำการเปลี่ยนชื่อ (School)
3. ชื่อโฟลเดอร์ก็จะเปลี่ยนเป็น School
4. การจัดเรียงไฟล์หรือโฟลเดอร์
ปกติเราจัดเรียงไฟล์หรือโฟลเดอร์จะเรียงตามชื่อของไฟล์หรือโฟลเดอร์ ถ้าต้องการเรียงตามความต้องการ สามารถเรียงได้หลายรูปแบบดังนี้
1. คลิกเลือก View เลือก Arrange Icons หรือคลิกขวาตรงที่ว่างแล้วคลิกเลือก Arrange Icons by
2. คลิกเลือกรูปแบบการจัดเรียงตามต้องการซึ่งมีหลายรูปแบบดังนี้
Name เรียงตามชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์
Total เรียงตามขนาดความจุของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Type เรียงตามชนิดของไฟล์
Modified เรียงตามวันที่/เวลาที่แก้ไขหลังสุด
Show in Group เรียงตามกลุ่มตัวอักษรแรกของชื่อ
Auto Arrange เรียงเป็นแถวโดยอัตโนมัติ
Align to Grid เรียงให้เป็นแถงตามตาราง Grid
5. การลบไฟล์หรือโฟลเดอร์
การลบไฟล์หรือโฟลเดอร์มีอยู่ 2 แบบ คือ ลบด้วยคำสั่ง กับ ลบด้วยการลากย้าย ซึ่งการลบไฟล์หรือโฟลเดอร์ทั้ง 2 แบบนี้ จะยังไม่เป็นการลบจริง เพียงแต่เป็นการย้ายไฟล์ หรือโฟลเดอร์เหล่านั้นไปเก็บไว้ในโฟลเดอร์ Recycle Bin เท่านั้น ซึ่งวิธีการลบทั้ง 2 แบบมีดังนี้
5.1 การลบไฟล์หรือโฟลเดอร์ด้วยคำสั่ง
ก่อนที่เราจะทำการลบไฟล์ให้สร้างโฟลเดอร์ตัวอย่างชื่อ Student ไว้ที่ไดรฟ์ D: ก่อน จึงทำการลบโฟลเดอร์ Student เพื่อป้องกันโฟลเดอร์สำคัญของเราถูกลบทิ้ง
1. เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้ง แล้วคลิกขวาที่โฟลเดอร์นั้น
2. คลิกเลือกคำสั่ง Delete
3. โปรแกรมจะถามว่าต้องการลบโฟลเดอร์ชื่อ Student ใช่หรือไม่
4. คลิก Yes
5. โฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้งจะหายไปแต่จะไปอยุ่ที่ Recycle Bin แทน
5.2 การลบโฟลเดอร์ด้วยการลากย้าย
1. คลิกโฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้งค้างไว้
2. ลากไปปล่อยในถังขยะ (Recycle Bin)
6. การกู้ไฟล์หรือโฟลเดอร์กลับคืนมา
เมื่อได้ทำการลบไฟล์หรือโฟลเดอร์แล้ว แต่อยากกู้กลับคืนมา สามารถปฏิบัติได้ดังนี้
1. ดับเบิ้ลคลิกที่ Recycle Bin
2. คลิกขวาโฟลเดอร์ที่เราต้องการรู้คืน แล้วเลือก Restore
3. โฟลเดอร์ Student ที่เคยลบทิ้งก็จะกลับมาใช้งานได้เหมือนเดิม
7. การลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ใน Recycle Bin
การลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ใน Recycle Bin จะเป็นการลบข้อมูลไปจากเครื่องที่ไม่สามารถที่จะกู้กลับมาได้อีก มีวิธีการดังต่อไปนี้
7.1 การลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ทั้งหมดใน Recycle Bin
1. คลิกเมาส์ขวาที่ไอคอน Recycle Bin เลือก Empty Recycle Bin
2. โปรแกรมจะถามว่ายืนยันการลบข้อมูลทั้งหมดใน Recycle Bin ซึ่งมีทั้งหมด 8 ไอเท็มใช้หรือไม่ คลิกปุ่ม Yes
3. ไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ที่มีอยู่ใน Recycle bin ทั้งหมดก็จะถูกลบทิ้งไป
7.2 การเลือกลบไฟล์ข้อมูลหรือโฟลเดอร์ใน Recycle Bin
1. ดับเบิ้ลคลิกเข้าไปที่ Recycle Bin
2. คลิกขวาที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการลบทิ้ง แล้วเลือกคำสั่ง Delete
3. โปรแกรมจะถามเราว่าเราจะยืนยันการลบโฟลเดอร์ชื่อ Student หรือไม่ คลิกปุ่ม Yes
4. โฟลเดอร์ ชื่อ Student ก็จะหายไปเพียงโฟลเดอร์เดียว
8. การสำเนาไฟล์หรือโฟลเดอร์
การสำเนาไฟล์หรือโฟลเดอร์คือการคัดลอกหรือย้ายข้อมูล อาจเป็นไฟล์หรือโฟลเดอร์ก็ได้ มีวิธีการสำเนาง่าย ๆ 2 แบบ คือ การสำเนาด้วยคำสั่ง และการสำเนาด้วยการลากไปปล่อย
8.1 การสำเนาด้วยคำสั่ง
1. คลิกเมาส์ขวาโฟลเดอร์ที่จะทำการสำเนา
2. เลือกคำสั่ง Copy หรือกด Ctrl + C
3. เลือกไดรฟ์หรือปลายทางที่จะนำโฟลเดอร์ที่ทำการสำเนาไปวาง
4. คลิกเมาส์ขวาบนที่ว่างแล้วเลือก Paste หรือกด Ctrl+V
5. จะได้ โฟลเดอร์ My Picture อีกหนึ่งโฟลเดอร์ที่ไดรฟ์ D:
8.2 การสำเนาด้วยการลากไปปล่อย
1. คลิกเมาส์ค้างโฟลเดอร์ที่จำทำสำเนา
2. ลากเมาส์ไปปล่อยในโฟลเดอร์หรือไดรฟ์ปลายทางที่ต้องการ
3. จะได้ โฟลเดอร์ My Picture อีกหนึ่งโฟลเดอร์ที่ไดรฟ์ D:
9. การเรียกดูและแก้ไขคุณสมบัติของไฟล์หรือโฟลเดอร์
วินโดวส์ XP จะเก็บรายละเอียดของไฟล์และโฟลเดอร์ไว้เช่นขนาดของไฟล์ วันที่สร้างไฟล์หรือประเภทของไฟล์และยังสามารถกำหนดคุณสมบัติ แอตทริบิวท์ ได้อีกด้วยซึ่งมีวิธีทำดังนี้
1. คลิกเมาส์ขวาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการเรียกดูและแก้ไข เลือก Properties จะปรากฏหน้าต่าง Properties ของไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น
2. ชื่อของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Type ชนิดของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Location ที่อยู่ของไฟล์หรือโฟลเดอร์
Size on disk ขนาดของข้อมูลไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่มีอยู่จริง
Contains จำนวนไฟล์และโฟลเดอร์
Created วันที่ และเวลาที่สร้างไฟล์หรือโฟลเดอร์ขึ้นมา
Attributes คุณสมบัติ ของไฟล์หรือโฟลเดอร์ สามารถเปลี่ยนได้มีให้เลือก 2 แบบ
1. Read-only คือ ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียวห้ามลบหรือแก้ไข
2. Hidden คือ ซ่อมไฟล์หรือโฟลเดอร์
3. คลิกปุ่ม OK
10. การค้สหาไฟล์หรือโฟลเดอร์
ในการหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ไม่รู้ที่อยู่ ในโปรแกรมวินโดวส์มีโปรแกรม Search เพื่อใช้ในการหาไฟล์ที่ต้องการ เพียงระบุไดรฟ์ และชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการค้นหา แล้วคลิก Search โปรแกรมจะทำการค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ ซึ่งมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. คลิก Start เลือกโปรแกรม Search
2. จะปรากฏหน้าต่าง Search Results
3. คลิกเลือก All files and folders
4. ใส่ชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการในช่อง All or part of the file name:
5. เลือกไดรฟ์หรือที่อยู่ของไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการในช่อง Look in :
6. คลิก Search
7. โปรแกรมจะทำการค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ
8. คลิกปุ่ม Stop เพื่อหยุดการ Search เมื่อพบไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการแล้ว
9. เมื่อพบไฟล์หรือโฟลเดอร์ทางช่องด้านขวาของโปรแกรม Search จะบอกรายละเอียดของไฟล์หรือโฟลเดอร์ เช่น ชื่อ ที่อยู่และชนิดของไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น ๆ
บทที่ 5 การใช้งานUser Account
การสร้าง account ผู้ใช้งานใหม่ (ในกรณีที่ใช้งานบนเครื่องเดียวกันมากกว่า 1 คน)
ตามปรกติแล้วแต่ละเครื่องจะมี Account ผู้ใช้งานประจำเครื่องอย่างน้อย 1 account เสมอครับ (เหมือนกับบน windows) ถ้าเป็นเครื่องส่วนตัวเราจะไม่ค่อยได้มาตรงส่วนนี้เท่าไหร่ ถ้าเราใช้งานคนเดียวบนเครื่อง account เราก็จะเป็นชื่อของเรา และได้สิทธิ์เป็น admin ให้จัดการทรัพยากรของเครื่องได้ทั้งหมด
แต่สำหรับเครื่องในบริษัท หรือเครื่องที่มีผู้ใช้งานหลายคนร่วมกันนั้น การสร้าง account ให้เหมาะสมกับการใช้งานของแต่ละคนเป็นสิ่งที่สามารถทำได้ (และควรกระทำด้วยครับ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรภายในเครื่องเราครับ )
โดยเครื่องที่มีมากกว่า 1 account นั้น ปรกติค่า setting ต่าง ๆ ของแต่ละ account จะแยกจากกันได้โดยอิสระ เช่น
เราจะเห็นหน้าต่างแสดงรายชื่อบัญชีผู้ใช้หรือว่า Account ที่มีอยู่ในเครื่อง
ตรงนี้จะบอกเราว่า ขณะนี้ในเครื่องของเรามี บัญชีผู้ใช้ (account) ของใครอยู่ในเครื่องบ้าง
คลิ๊กไปที่ลูกกุญแจเพื่อปลดล๊อก
เมื่อคลิ๊กที่รูปกุญแจแล้ว ระบบจะถาม username กับ password ของเรา ให้กรอกแล้วกด OK ผ่านไปหมายเหตุ - ขึ้นตอนการเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตามที่เกี่ยวข้องกับ system หรือว่าไฟล์ของระบบแล้วนั้นส่วนใหญ่ ถ้าเราจะทำการแก้ไข เรามักจะต้องใส่ password ก่อนเสมอ
หลังจากปลดล๊อกแล้ว ทำการเพิ่ม account โดยการกดที่เครื่องหมาย ‘+’ (บวก)
หน้าต่างใหม่ให้กรอกรายละเอียดของ ผู้ใช้งาน/user ใหม่บนเครื่อง
New Account: ชนิตของบัญชีผู้ใช้แบบต่าง ๆ (อธิบายจากรูปถัดไป)
Name: ชื่อประจำตัวของ account นี้ โดยทั่วไปก็เอาชื่อ/ตำแหน่งผู้ใช้งานมาใส่ .. จะเป็นอะไรก็ได้ที่ไม่ทำให้สับสนทีหลัง
Short Name: ชื่อย่อ
Password: ระหัสผ่าน
Verify: ยืนยันระหัสผ่าน
Password Hint: คำถามใบ้ แนะแนวกรณีที่เราลืม password ตั้งอะไรก็ได้ที่เกี่ยวโยงกับ password ที่เราตั้งไว้ จะกรอกตรงนี้เป็นภาษาไทยก็ได้ครับ =)
เลือกประเภท ผู้ใช้งาน/user ใหม่บนเครื่อง
Administrator: ผู้ใช้งานชั้นสูงสุด ที่มีสิทธิ์เพิ่ม ลบ หรือแก้ไขอะไรต่าง ๆ ที่อยู่บนเครื่องได้ทั้งหมดStandard: ผู้ใช้งานทั่วไป ส่วนใหญ่ไม่มีสิทธิ์จัดการกับไฟล์ของระบบ หรือของผู้ใช้ account อื่น ๆ นอกจากจะใช้งานบนบัญชีตัวเองเท่านั้นManaged with Parental Controls: เป็น account ที่สามารถกำหนดการใช้งานให้รัดกุมได้ สำหรับผู้ปกครองที่ต้องการกำหนดขอบเขตการใช้งานเครื่องกับลูกหลานSharing Only: คนทั่วไป ทำอะไรไม่ได้มากไปกว่า การเข้าถึงเฉพาะส่วน public folder หรือที่เปิดแชร์เอาไว้เท่านั้น log in เข้าจากหน้าเครื่องก็ไม่ได้ด้วยGroup: เอาไว้สำหรับกำหนดสิทธิ์ในการแชร์ไฟล์ใหักับกลุ่ม account อื่น ๆ
รูปกุญแจที่เห็นอยู่ด้านหลังช่องกรอก password
คือ Password Assistant
มีเอาไว้สำหรับตรวจสอบความแข็งแรงของ password ที่เราตั้งเอาไว้ พร้อมกับมีข้อแนะนำในรูปแบบต่าง ๆ เช่นพวกการสลับตัวอักษรกับตัวเลข หรือการใช้ตัวเล็กตัวใหญ่สลับกัน....
แต่ขอแนะนำว่า ตั้งอะไรก็ได้ล่ะครับ เอาให้ไม่ลืมและเข้าใจเองได้คนเดียวเป็นพอครับ
กรอกรายละเอียดตามช่องที่ให้มาให้หมด
จากนั้นกดเลือก Create Account เพื่อเป็นการเริ่มสร้าง account ใหม่
หมายเหตุ : จากรูปผมตั้งคำถามนำทาง เวลาลืม password เป็นภาษาไทยครับ หรือถ้าไม่แน่ใจ ก็ใส่ไว้ 2-3 ข้อก็ได้ =)
ถ้าเราตั้ง password กับ verify ไม่เหมือนกัน
จะถูกฟ้องว่าเรากรอก password กับ verify ไม่ตรงกันครับ =P
หลังจากสร้าง account ใหม่สำเร็จแล้ว เราจะกลับมาที่หน้าต่างรายชื่อ account
1.การเปลี่ยนรูปประจำตัว ทำได้ด้วยการคลิ๊กเข้าไปที่ตรงนี้
2.เปลี่ยน password ใหม่
3.เปลี่ยนชื่อประจำเครื่อง/MobileMe ใหม่ (เมื่อเปลี่ยนแล้วรายชื่อทางด้านซ้ายมือจะเปลี่ยนตามครับ)
4.Allow user to administer this computer : กำหนดสิทธิ์ให้ผู้ใช้นี้เป็น admin ของเครื่องได้Enable Parental Controls : กำหนดสิทธิ์ความคุมการใช้งานเครื่องของ user ในรูปแบบต่าง ๆ
ถ้าเปลี่ยนทุกอย่างเข้าที่เข้าทางแล้ว อย่าลืมกลับมาล๊อกกุญแจกลับเข้าที่เดิม
จะเป็นการป้องการการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลจาก user อื่น ๆ บนเครื่อง หรือแม้แต่การเปลี่ยนแปลงโดยตัวเราเอง =)
ถ้าจะแก้ไขอีกคราวหน้า ก็ให้กลับมาปลดล๊อกใหม่ และทำซ้ำแบบเดิมครับ
หมดในส่วนของการสร้าง Account ใหม่แล้วครับ
ตามปรกติแล้วแต่ละเครื่องจะมี Account ผู้ใช้งานประจำเครื่องอย่างน้อย 1 account เสมอครับ (เหมือนกับบน windows) ถ้าเป็นเครื่องส่วนตัวเราจะไม่ค่อยได้มาตรงส่วนนี้เท่าไหร่ ถ้าเราใช้งานคนเดียวบนเครื่อง account เราก็จะเป็นชื่อของเรา และได้สิทธิ์เป็น admin ให้จัดการทรัพยากรของเครื่องได้ทั้งหมด
แต่สำหรับเครื่องในบริษัท หรือเครื่องที่มีผู้ใช้งานหลายคนร่วมกันนั้น การสร้าง account ให้เหมาะสมกับการใช้งานของแต่ละคนเป็นสิ่งที่สามารถทำได้ (และควรกระทำด้วยครับ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรภายในเครื่องเราครับ )
โดยเครื่องที่มีมากกว่า 1 account นั้น ปรกติค่า setting ต่าง ๆ ของแต่ละ account จะแยกจากกันได้โดยอิสระ เช่น
- โปรแกรมต่าง ๆ
- ขนาด font ข้อความ
- ภาพพื้นหลัง desktop
- รวมไปถึง setting เฉพาะกิจต่าง ๆ ตามแต่ผู้ใช้งานแต่ละคนจะเลือกตั้งเอาไว้ (พูดให้ง่ายคือ ของใครของมันครับ ไม่เกี่ยวกัน)
- ช่วยให้บริหาร file / folder ภายในเครื่องสะดวกขึ้น เช่น ป้องกันการเข้าถึงไฟล์ที่เจ้าของเครื่อง/admin ไม่ต้องการให้ผู้ใช้งานคนอื่นบนเครื่องเข้าถึง หรือใช้งานไฟล์นั้น ๆได้ เพราะเอกสารของแต่ละ account จะแยกจากกัน ยกเว้นบาง folder เช่น public folder / shared folder ที่จะมองเห็นร่วมกันเท่านั้น (หรือจะกำหนดสิทธิ์พิเศษให้มองเห็น folder ต่าง ๆ เป็นกรณีไปก็ทำได้)
- ป้องกันความเสียหายจาก user อื่นไม่ให้มาซนกับไฟล์ของ admin หรือไฟล์ของระบบ
- admin สามารถจำกัดสิทธิ์การใช้งานของ user อื่น ๆ บนเครื่องได้ เช่น ผู้ปกครองสามารถสร้าง account ให้บุตรหลานใช้งานบนเครื่องเดียวกัน แล้วยังกำหนดระยะเวลาให้เล่น internet ได้ถึง 4 ทุ่มของทุกวันเท่านั้น เป็นต้น
เราจะเห็นหน้าต่างแสดงรายชื่อบัญชีผู้ใช้หรือว่า Account ที่มีอยู่ในเครื่อง
ตรงนี้จะบอกเราว่า ขณะนี้ในเครื่องของเรามี บัญชีผู้ใช้ (account) ของใครอยู่ในเครื่องบ้าง
- My Account - คือ account ของเราเอง ดูสถานะได้จากใต้ชื่อ ใครที่มีสถานะเป็น Admin จะสามารถปรับเปลี่ยนระบบต่าง ๆ ได้
- Other Accounts - คือ บัญชีผู้ใช้อื่น ๆ ที่ admin สามารถสร้างเพิ่ม หรือว่าลบออกจากระบบได้
คลิ๊กไปที่ลูกกุญแจเพื่อปลดล๊อก
เมื่อคลิ๊กที่รูปกุญแจแล้ว ระบบจะถาม username กับ password ของเรา ให้กรอกแล้วกด OK ผ่านไปหมายเหตุ - ขึ้นตอนการเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตามที่เกี่ยวข้องกับ system หรือว่าไฟล์ของระบบแล้วนั้นส่วนใหญ่ ถ้าเราจะทำการแก้ไข เรามักจะต้องใส่ password ก่อนเสมอ
หลังจากปลดล๊อกแล้ว ทำการเพิ่ม account โดยการกดที่เครื่องหมาย ‘+’ (บวก)
หน้าต่างใหม่ให้กรอกรายละเอียดของ ผู้ใช้งาน/user ใหม่บนเครื่อง
New Account: ชนิตของบัญชีผู้ใช้แบบต่าง ๆ (อธิบายจากรูปถัดไป)
Name: ชื่อประจำตัวของ account นี้ โดยทั่วไปก็เอาชื่อ/ตำแหน่งผู้ใช้งานมาใส่ .. จะเป็นอะไรก็ได้ที่ไม่ทำให้สับสนทีหลัง
Short Name: ชื่อย่อ
Password: ระหัสผ่าน
Verify: ยืนยันระหัสผ่าน
Password Hint: คำถามใบ้ แนะแนวกรณีที่เราลืม password ตั้งอะไรก็ได้ที่เกี่ยวโยงกับ password ที่เราตั้งไว้ จะกรอกตรงนี้เป็นภาษาไทยก็ได้ครับ =)
เลือกประเภท ผู้ใช้งาน/user ใหม่บนเครื่อง
Administrator: ผู้ใช้งานชั้นสูงสุด ที่มีสิทธิ์เพิ่ม ลบ หรือแก้ไขอะไรต่าง ๆ ที่อยู่บนเครื่องได้ทั้งหมดStandard: ผู้ใช้งานทั่วไป ส่วนใหญ่ไม่มีสิทธิ์จัดการกับไฟล์ของระบบ หรือของผู้ใช้ account อื่น ๆ นอกจากจะใช้งานบนบัญชีตัวเองเท่านั้นManaged with Parental Controls: เป็น account ที่สามารถกำหนดการใช้งานให้รัดกุมได้ สำหรับผู้ปกครองที่ต้องการกำหนดขอบเขตการใช้งานเครื่องกับลูกหลานSharing Only: คนทั่วไป ทำอะไรไม่ได้มากไปกว่า การเข้าถึงเฉพาะส่วน public folder หรือที่เปิดแชร์เอาไว้เท่านั้น log in เข้าจากหน้าเครื่องก็ไม่ได้ด้วยGroup: เอาไว้สำหรับกำหนดสิทธิ์ในการแชร์ไฟล์ใหักับกลุ่ม account อื่น ๆ
รูปกุญแจที่เห็นอยู่ด้านหลังช่องกรอก password
คือ Password Assistant
มีเอาไว้สำหรับตรวจสอบความแข็งแรงของ password ที่เราตั้งเอาไว้ พร้อมกับมีข้อแนะนำในรูปแบบต่าง ๆ เช่นพวกการสลับตัวอักษรกับตัวเลข หรือการใช้ตัวเล็กตัวใหญ่สลับกัน....
แต่ขอแนะนำว่า ตั้งอะไรก็ได้ล่ะครับ เอาให้ไม่ลืมและเข้าใจเองได้คนเดียวเป็นพอครับ
กรอกรายละเอียดตามช่องที่ให้มาให้หมด
จากนั้นกดเลือก Create Account เพื่อเป็นการเริ่มสร้าง account ใหม่
หมายเหตุ : จากรูปผมตั้งคำถามนำทาง เวลาลืม password เป็นภาษาไทยครับ หรือถ้าไม่แน่ใจ ก็ใส่ไว้ 2-3 ข้อก็ได้ =)
ถ้าเราตั้ง password กับ verify ไม่เหมือนกัน
จะถูกฟ้องว่าเรากรอก password กับ verify ไม่ตรงกันครับ =P
หลังจากสร้าง account ใหม่สำเร็จแล้ว เราจะกลับมาที่หน้าต่างรายชื่อ account
1.การเปลี่ยนรูปประจำตัว ทำได้ด้วยการคลิ๊กเข้าไปที่ตรงนี้
2.เปลี่ยน password ใหม่
3.เปลี่ยนชื่อประจำเครื่อง/MobileMe ใหม่ (เมื่อเปลี่ยนแล้วรายชื่อทางด้านซ้ายมือจะเปลี่ยนตามครับ)
4.Allow user to administer this computer : กำหนดสิทธิ์ให้ผู้ใช้นี้เป็น admin ของเครื่องได้Enable Parental Controls : กำหนดสิทธิ์ความคุมการใช้งานเครื่องของ user ในรูปแบบต่าง ๆ
ถ้าเปลี่ยนทุกอย่างเข้าที่เข้าทางแล้ว อย่าลืมกลับมาล๊อกกุญแจกลับเข้าที่เดิม
จะเป็นการป้องการการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลจาก user อื่น ๆ บนเครื่อง หรือแม้แต่การเปลี่ยนแปลงโดยตัวเราเอง =)
ถ้าจะแก้ไขอีกคราวหน้า ก็ให้กลับมาปลดล๊อกใหม่ และทำซ้ำแบบเดิมครับ
หมดในส่วนของการสร้าง Account ใหม่แล้วครับ
บทที่ 5 เทคนิคการใช้งาน Windows 7
ในที่สุดการรอคอยก็ใกล้จะถึงจุดหมายแล้ว สำหรับ Windows 7 ที่หมายว่าจะสร้างความนิยมให้กับผู้ใช้ได้ หลังจากที่เราผิดหวังจาก Windows Vista กันมาแล้ว ซึ่ง Windows 7 นั้น นอกจากมีความสวยงามน่าใช้ไม่แตกต่างไปจาก Vista แล้ว ยังใช้งานได้ดี ไม่แพ้กับ Windows XP เลย เรียกว่าหากได้ใช้ Windows 7 แล้ว คุณจะไม่อยากกลับไปใช้ Windows XP อีกเลย
ดูจากรูปเราจะเห็นว่า Windows 7 แม้ จะพัฒนาต่อยอดมาจาก Windows Vista แต่หน้าตาก็มีการปรับเปลี่ยนไปบ้างพอสมควร แม้จะใช้งานได้ไม่ยาก แต่ก็ต้องปรับตัวกันนิดหน่อยเพื่อให้สามารถใช้งาน Windows 7 ได้ ง่ายขึ้น ซึ่งส่วนประกอบที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดก็คือส่วนของทาสก์บาร์ ที่ปรับปรุงให้เรียกใช้โปรแกรมได้ง่ายขึ้น มีการตัดทอนบางฟังก์ชั่นออกไป เช่น Quick Launch
ส่วนของซิสเท็มบาร์ที่ถูกซ่อนเอาไว้ไม่ให้แสดงผลเกะกะบนหน้าจอ รวมทั้งแถบของ Gadget ที่หายไป โดยเราสามารถเรียก Gadget ขึ้นมา และวางไว้ตรงไหนก็ได้ของหน้าจอ โดยไม่กินพื้นที่เหมือนกับ Gadget Bar ในWindows Vista อีก แน่นอนว่าเมื่อเวอร์ชันใหม่ออกมา ก็ต้องมีความสามารถใหม่ๆ ตามมาด้วย และนี่คือทิปที่จะช่วยให้คุณใช้งาน Windows? 7ได้ง่ายและสะดวกขึ้น พร้อมกับสามารถปรับแต่งหน้าตาอินเทอร์เฟสต่างๆ ได้ตามต้องการ
-?? ?Win + ลูกศรขึ้น และ Win+ ลูกศรลง? เป็นการขยายขนาดของหน้าต่างให้เต็มหน้าจอ และย่อขนาดกลับลงมาเท่าเดิม
-?? ?Win + ลูกศรซ้าย และ Win + ลูกศรขวา เป็นการกำหนดตำแหน่งของการแสดงผลอยู่ทางครึ่งของหน้าจอทางซ้ายมือหรือว่าขวามือ
-?? ?Win + Shift +ลูกศรขึ้น และ Win+Shift+ ลูกศรลง? เป็นการขยายขนาดของหน้าต่างให้เต็มหน้าจอทางด้านแนวตั้ง และย่อขนาดกลับลงมาเท่าเดิม
แต่หากว่าคุณต้องการแสดงผลเฉพาะพรีเซนเทชั่น เพื่อออกไปทางโปรเจ็คเตอร์ คงไม่อยากให้การแสดงผลบนหน้าจอถูกขัดจังหวะด้วยสกรีนเซฟเวอร์ หรือว่าข้อความทาง IM ที่ส่งมาให้คุณ เราสามารถใช้ปุ่ม Win+X เพื่อกำหนดการแสดงผลเฉพาะพรีเซนเทชั่นได้ เท่านี้เวลาข้อความทาง IM ส่งเข้ามาหรือว่าสกรีนเซฟเวอร์ทำงาน ก็จะไม่มีผลต่อการแสดงผลบนหน้าจอโปรเจ็คเตอร์อีก
เรียกใช้งานเมนูบาร์บน Explorer
ด้วยฟังก์ชั่นพิเศษที่ไมโครซอฟท์เห็นว่ามันอาจจะเกะกะ ก็เลยซ่อนเมนูบาร์ใน Explorer เอาไว้ซะ ทำให้การปรับแต่งการทำงานต่างๆนั้นอาจจะไม่สะดวก แต่เราสามารถเรียกเมนูบาร์ออกมาได้ง่ายๆ โดยกดปุ่ม alt หนึ่งครั้งก็จะเป็นการแสดงผลเมนูบาร์ขึ้นมา และเมนูบาร์นี้จะถูกซ่อนเอาไว้โดยอัตโนมัติ เมื่อเราไม่ได้ใช้งาน
ดูจากรูปเราจะเห็นว่า Windows 7 แม้ จะพัฒนาต่อยอดมาจาก Windows Vista แต่หน้าตาก็มีการปรับเปลี่ยนไปบ้างพอสมควร แม้จะใช้งานได้ไม่ยาก แต่ก็ต้องปรับตัวกันนิดหน่อยเพื่อให้สามารถใช้งาน Windows 7 ได้ ง่ายขึ้น ซึ่งส่วนประกอบที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดก็คือส่วนของทาสก์บาร์ ที่ปรับปรุงให้เรียกใช้โปรแกรมได้ง่ายขึ้น มีการตัดทอนบางฟังก์ชั่นออกไป เช่น Quick Launch
ส่วนของซิสเท็มบาร์ที่ถูกซ่อนเอาไว้ไม่ให้แสดงผลเกะกะบนหน้าจอ รวมทั้งแถบของ Gadget ที่หายไป โดยเราสามารถเรียก Gadget ขึ้นมา และวางไว้ตรงไหนก็ได้ของหน้าจอ โดยไม่กินพื้นที่เหมือนกับ Gadget Bar ในWindows Vista อีก แน่นอนว่าเมื่อเวอร์ชันใหม่ออกมา ก็ต้องมีความสามารถใหม่ๆ ตามมาด้วย และนี่คือทิปที่จะช่วยให้คุณใช้งาน Windows? 7ได้ง่ายและสะดวกขึ้น พร้อมกับสามารถปรับแต่งหน้าตาอินเทอร์เฟสต่างๆ ได้ตามต้องการ
สร้างแผ่นสำหรับแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์
คงบอกว่าหากวันใดวันหนึ่ง Windows ของคุณเกิดปัญหาขึ้น จะทำให้คุณต้องยุ่งยากขนาดไหน ดังนั้นเราควรที่จะสร้างหนทางสำหรับที่จะทำให้เราสามารถแก้ไขปัญหาได้ง่าย ขึ้น โดยการสร้างแผ่นบู๊ตยามฉุกเฉินเอาไว้ก่อน โดยหลังจากที่ติดตั้ง Windows เสร็จเรียบร้อยแล้วนั้น ก็ให้เราเตรียมแผ่นดิสก์เปล่าๆเอาไว้ก่อน จากนั้นคลิกที่ Start > Maintenance > Create a System Repair Disc และใส่แผ่นดิสก์เปล่าลงไป และให้ Windows 7 สร้างแผ่นบู๊ตยามฉุกเฉินเอาไว้ก่อน ทีนี้ หาก Windows มีปัญหาในการทำงานเกิดขึ้น เราก็สามารถใช้แผ่นดิสก์นี้บู๊ต เพื่อแก้ไขปัญหาเขียนแผ่นซีดีและวิดีโอจาก ISO ไฟล์ โดยไม่ต้องลงโปรแกรมเบิร์น
คุณสมบัติอย่างหนึ่งของ Windows 7 ก็ คือเราสามารถสร้างเบิร์นแผ่นดีวีดีหรือซีดีได้ โดยไม่ต้องลงโปรแกรมเขียนแผ่นดิสก์ลงไปก่อน ซึ่งช่วยให้สะดวกขึ้น หากว่ามีแผ่นโปรแกรมในรูปแบบของไฟล์ ISO อยู่ในเครื่องอยู่แล้ว ก็สามารถคลิกที่ไฟล์ ISO นั้นแล้วเลือกไดรว์ที่จะเขียน พร้อมกับใส่แผ่นดิสก์เปล่าลงไป เท่านี้ Windows ก็จะพร้อมที่จะสร้างแผ่นดิสก์จาก ISO ไฟล์ได้เลยแก้ไขปัญหาใน Windows 7 ให้รวดเร็ว
เวลาเกิดปัญหากับการใช้งาน Windows คงไม่ต้องบอกว่ามันยุ่งยากขนาดไหน เพราะเราไม่รู้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น เกิดจากอะไรและจะสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆนั้นอย่างไรได้บ้าง แต่สำหรับ Windows 7 แล้ว มีเครื่องมือที่จะช่วยให้เราสามารถค้นหาปัญหา และแก้ไขได้ด้วยตัวเองก่อนที่จะต้องส่งให้ผู้เชี่ยวชาญต่อไป โดยเราสามารถเข้าถึงการตรวจสอบปัญหาต่างๆ ได้จากการเลือกที่ Control Panel > Troubleshoot Problems ซึ่งจะมีวิซาร์ด ช่วยในการค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้น และวิธีการแก้ไข รวมทั้งยังเป็นการเช็คอัพระบบ และกำจัดสิ่งที่ไม่จำเป็นสำหรับการทำงานของคุณได้ซ่อนไอคอนของ Windows Live Messenger
ถ้าคุณเป็นอีกคนหนึ่ง ที่ต้องใช้ Windows Live Messenger เป็นประจำบน Windows 7 คุณ จะพบว่าเมื่อเปิด Windows Live Messenger มันจะแสดงการทำงานค้างไว้บนทาสก์บาร์ให้เกะกะ ซึ่งหากคุณไม่ชอบใจ ก็สามารถซ่อนการทำงานของ Windows Live Messenger เอาไว้ได้ โดยก่อนอื่นต้องคลิกขวา เลือกที่ไอคอนของ Windows Live Messenger จากนั้นเลือกที่ Properties แล้ว กำหนดให้แอพพลิเคชั่น ทำงานในโหมดของ Windows Vista Compatibility จากนั้นก็เปิดการทำงานของ Windows Live ขึ้นมาอีกครั้ง คราวนี้โปรแกรม Messenger จะถูกซ่อนการทำงานเอาไว้ ไม่โผล่มาให้เกะกะบนทาสก์บาร์อีกเพิ่มพื้นที่การใช้งานให้กับเดสก์ท็อป
ใน Windows 7 เรา จะพบว่าทาสก์บาร์นั้นมีขนาดที่ใหญ่มาก ซึ่งอาจจะกินพื้นที่บางส่วนของเดสก์ท็อปไปอย่างมาก รวมทั้งไอคอนต่างๆ ทำให้พื้นที่สำหรับแอพพลิเคชั่นต่างๆ นั้น วางได้ไม่เยอะ ซึ่งเราสามารถที่จะปรับขนาดของไอคอนบนเดสก์ท็อปให้เล็กลงได้ โดยคลิกขวาที่ทาสก์บาร์ จากนั้นเลือกที่ Properties > Taskbar > Use small icons เพื่อที่จะให้ไอคอนบนทาสก์บาร์เล็กลง และเราก็จะได้พื้นที่ใช้งานบนเดสก์ท็อปนั้นเพิ่มขึ้นเพิ่ม Quick Launch ให้กับทาสก์บาร์
ด้วยการมี Launch ที่สามารถเรียกโปรแกรมต่างๆ ขึ้นมาให้แล้ว ทำให้ Quick Launch เดิมที่มาพร้อมกับ Windows ก่อนหน้านี้ ถูกตัดออกไป แต่เราก็สามารถเปิดการทำงานของ Quick Launch ขึ้นมาได้ โดยให้คลิกขวาที่ทาสก์บาร์ จากนั้นเลือกที่ Toolbars/ New Tools Bar ก็จะปรากฏหน้าต่าง Folder Selection dialog ขึ้นมา ให้พิมพ์ข้อความตามนี้ลงไป %userprofile%\AppData\Roaming\Microsoft\Internet Explorer\Quick Launch แล้วคลิกที่ OK ก็จะมีแถบของ Quick Launch ปรากฏขึ้นที่ทาสก์บาร์ แต่ตอนนี้ Quick Launch จะดูเหมือนว่าไม่ปรากฏออกมาเพราะมีแถบข้อความ และคำอธิบายเต็มไปหมด ให้คลิกขวาที่ Quick Launch แล้วเอาเช็คบ็อกซ์ตรง lock the taskbar ออก แล้วคลิกขวาอีกครั้งที่ Quick Launch และให้นำเช็คสบ็อกซ์ หน้าข้อความ show Text และ Show Titles ออกไป ที่นี้เราก็สามารถลากไอคอนชอร์ตคัทของโปรแกรมต่างๆ ที่ต้องการ นำมาวางไว้ตรง Quick Launch นี้ได้ และเมื่อเป็นที่พอใจแล้ว ก็ให้คลิกขวาที่ทาสก์บาร์ พร้อมกับล็อคทาสก์บาร์เอาไว้ให้เรียบร้อยเปลี่ยนการทำงานให้กับเพาเวอร์สวิทช์
ปกติหน้าที่ของเพาเวอร์สวิทช์ ก็คือการเปิดเครื่อง แต่ขณะที่คอมพิวเตอร์กำลังทำงานอยู่ล่ะ จะให้มันทำหน้าที่เป็นอะไร ในWindows 7 เรา สามารถกำหนดการทำงานให้กับเพาเวอร์สวิทช์ได้ โดยคลิกขวาที่ไอคอน Windows มุมล่างซ้าย แล้วเลือกที่ properties จากนั้น คลิกที่แท็บ Start Menu แล้วตรง power button action ก็กำหนดหน้าที่ที่ต้องการให้กับปุ่มเพาเวอร์ได้ ทั้งการชัตดาวน์ รีสตาร์ท หรือล็อคเครื่องก็ได้เช่นกันควบคุมการทำงานบน Windows ด้วยปุ่ม Windows คีย์
หากคุณต้องการปรับการแสดงผลขณะทำงานบน Windows 7 เพื่อ ให้สะดวกขึ้น เราสามารถใช้ปุ่ม windows คีย์ เพื่อเป็นคีย์ลัดในการจัดการการแสดงผลของหน้าต่างบน Windows ได้ ไม่ว่าจะเป็นการย่อขยาย จัดการแสดงผลให้เต็มหน้าจอ หรือย่อทั้งหมดลงมา หรือเรียกการทำงานของหน้าต่างที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว เป็นต้น ซึ่งคีย์ลัดนี้ เราสามารถทำงานกับ Windows ได้อย่างรวดเร็วขึ้น โดยสามารถแบ่งการทำงานที่ต้องใช้ร่วมกับปุ่ม Windows คีย์ได้ดังนี้- ปรับขนาดของหน้าต่างให้ตรงกับความต้องการ
-?? ?Win + ลูกศรขึ้น และ Win+ ลูกศรลง? เป็นการขยายขนาดของหน้าต่างให้เต็มหน้าจอ และย่อขนาดกลับลงมาเท่าเดิม
-?? ?Win + ลูกศรซ้าย และ Win + ลูกศรขวา เป็นการกำหนดตำแหน่งของการแสดงผลอยู่ทางครึ่งของหน้าจอทางซ้ายมือหรือว่าขวามือ
-?? ?Win + Shift +ลูกศรขึ้น และ Win+Shift+ ลูกศรลง? เป็นการขยายขนาดของหน้าต่างให้เต็มหน้าจอทางด้านแนวตั้ง และย่อขนาดกลับลงมาเท่าเดิม
แสดงผลออกโปรเจ็คเตอร์
แต่หากว่าคุณต้องการแสดงผลเฉพาะพรีเซนเทชั่น เพื่อออกไปทางโปรเจ็คเตอร์ คงไม่อยากให้การแสดงผลบนหน้าจอถูกขัดจังหวะด้วยสกรีนเซฟเวอร์ หรือว่าข้อความทาง IM ที่ส่งมาให้คุณ เราสามารถใช้ปุ่ม Win+X เพื่อกำหนดการแสดงผลเฉพาะพรีเซนเทชั่นได้ เท่านี้เวลาข้อความทาง IM ส่งเข้ามาหรือว่าสกรีนเซฟเวอร์ทำงาน ก็จะไม่มีผลต่อการแสดงผลบนหน้าจอโปรเจ็คเตอร์อีก
ย่อหน้าต่างให้เลือกเฉพาะที่ใช้งานปัจจุบัน
ทำงานแบบหลายมอนิเตอร์พร้อมๆ กัน
เรียกใช้โปรแกรมบนทาสก์บาร์ด้วยคีย์ลัด
มองทะลุเดสก์ทอป
ท่องไปตามทาสก์บาร์
ขยายการมองเห็นให้กับ Windows
เรียกใช้งาน Gadget ได้อย่างรวดเร็ว
ทำงานง่ายขึ้นด้วย ALT คีย์
ใน Windows 7 สามารถ ใช้งานคีย์ลัด เพื่ออำนวยความสะดวกในการเรียกใช้งาน Windows ได้อย่างมาก และ ALT ก็คือคีย์อเนกประสงค์อีกคีย์หนึ่ง ที่สามารถนำมาใช้งานร่วมกับคีย์ต่างๆ เพื่อให้ทำงานร่วมกับ Windows ได้สะดวกขึ้นเรียกใช้งานเมนูบาร์บน Explorer
ด้วยฟังก์ชั่นพิเศษที่ไมโครซอฟท์เห็นว่ามันอาจจะเกะกะ ก็เลยซ่อนเมนูบาร์ใน Explorer เอาไว้ซะ ทำให้การปรับแต่งการทำงานต่างๆนั้นอาจจะไม่สะดวก แต่เราสามารถเรียกเมนูบาร์ออกมาได้ง่ายๆ โดยกดปุ่ม alt หนึ่งครั้งก็จะเป็นการแสดงผลเมนูบาร์ขึ้นมา และเมนูบาร์นี้จะถูกซ่อนเอาไว้โดยอัตโนมัติ เมื่อเราไม่ได้ใช้งาน
เพิ่มขีดความสามารถในการใช้งาน Explorer
ใน Explorer ตัวล่าสุดของ Windows 7 เราสามารถใช้คีย์ลัด ALT ร่วมกับคีย์ต่างๆ เพื่อให้ใช้งาน Explorer ได้ง่ายขึ้น เช่น- ALT+UP เป็นการกระโดดไปยังโฟลเดอร์แรกสุดคือ Desktop โดยอัตโนมัติ หรือย้อนกลับไปโฟลเดอร์รูท หากว่าเราทำงานอยู่ในโฟลเดอร์ย่อยๆ ของโฟลเดอร์รูทนั้น
- ALT + Right คือการไล่สเต็ปไปยังโฟลเดอร์ ที่เปิดขึ้นมาล่าสุด
- ALT + LEFT คือการย้อนกลับไปทำงานยังโฟลเดอร์ก่อนหน้าโฟลเดอร์ปัจจุบัน
- ALT +D เป็นการทำงานกับแอดเดรสบาร์ของพาธ การทำงานปัจจุบัน
- F4 เป็นการเรียกใช้งาน drop down menu ของแอดเดรสบาร์
- ALT+ENTER เป็นการเรียก Properties ของไฟล์ที่เคอร์เซอร์กำลังถูกเลือกอยู่ในขณะนั้น
- CTRL+mousewheel เป็นการเปลี่ยนขนาดของไอคอนใน explorer
- F11 เป็นการเปลี่ยนโหมดของ explorerให้ทำงานในโหมด Full Screen
เรียกใช้งานแอพพลิเคชั่นในโหมดของ Windows Compatibility เพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกับโปรแกรมเก่าได้
ปัญหาใหญ่ๆของการใช้งาน Windows 7 ก็ คือการทำงานร่วมกับแอพพลิเคชั่นเดิมๆ ที่เคยใช้งานได้ใน Windows XP หรือว่า Vista ซึ่งหากเราเรียกใช้งานตรงๆ อาจจะมีปัญหาเกิดขึ้นได้ Windows 7 จึง มีโหมดการทำงาน Windows Compatibility เพื่อให้นำแอพพลิเคชั่นเดิมๆที่สามารถเคยใช้งานได้ใน Windows XP หรือ Vista ให้ใช้งานได้บน Windows 7 โดย การคลิกขวาที่ไอคอนของแอพพลิเคชั่นนั้นๆ จากนั้นเลือกที่ Properties แล้วไปยังแท็บ compatibility mode และเลือก Run this program in compatibility mode for ซึ่งเราสามารถเลือกได้ว่าให้แอพพลิเคชั่นตัวนั้น ทำงานในโหมดของ Windows เวอร์ชั่นไหนก็ได้ ไม่ว่าจะเป็น Windows XP หรือว่า Windows 95 ก็ยังไหว โดยในโหมด compatibility แนะนำว่าควรที่จะเลือก disable visual themes และ desktop composition เอาไว้ด้วย และหากว่าแอพพลิเคชั่นนั้นเป็นวิดีโอเกม ก็ควรที่จะเลือก Run this program as an administrator เอาไว้ด้วย เพื่อที่ Windows 7 จะไม่ตั้งคำถามสำหรับคุณอีกใช้งาน Sticky Notes เพื่อเตือนความจำ
แอพพลิเคชั่นหลายๆ ตัวได้ถูกเติมเต็มเข้ามาใน Windows 7 นี้ เพื่อให้การทำงานของผู้ใช้นั้นง่ายขึ้น โดยไม่ต้องไปหาโปรแกรมอื่นๆมาติดตั้งให้ยุ่งยากอีก เช่น Sticky Notes หรือ กระดาษเตือนความจำ ซึ่งให้เราสามารถโน้ตข้อความต่างๆ วางไว้บนเดสก์ท็อปได้สะดวก โดยเราสามารถเรียกใช้งาน Sticky Notes จากการพิมพ์ notes ที่ช่อง Search ก็จะเป็นการหาแอพพลิเคชั่น Sticky Note ให้เราเองโดยอัตโนมัติ และเราสามารถเปลี่ยนสีของกระดาษโน้ตได้ โดยการคลิกขวาที่ Sticky Note แล้วเลือกสีกระดาษโน้ตตามต้องการ? และหากต้องการเพิ่มกระดาษโน้ตก็สามารถคลิกที่เครื่องหมาย + บนกระดาษโน้ต และเมื่อต้องการปิดการใช้งาน Sticky Note ก็ให้กด Alt+F4 ก็จะเป็นการปิดการทำงานลง แต่จะเก็บข้อความทั้งหมดเอาไว้ ซึ่งเมื่อเปิดการทำงานขึ้นมาอีก ข้อความเดิมที่มีอยู่ก็จะปรากฏขึ้นมาเหมือนเดิมวันอาทิตย์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วิธีการติดตั้ง printer และการ share printer
บทความนี้ป๋มขอแบ่ง เป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 เครื่อง Server (เครื่องแม่)เป็นเครื่องที่ต้องต่อกับ Printer โดยตรง ซึ่งผมขอตั้งเป็น ชื่อ Server01 (ผมสมมุติขึ้นไม่ต้องตั้งตามก็ได้)
ส่วนที่ 2 เครื่อง Client (เครื่องลูก)
**** หมายเหตุ ผมขอใช้เป็น เครื่อง server เนี่ยะหมายถึงเครื่องที่ต่อ กับ Printer นะครับไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องซื้อเครื่อง Server
เรามาเริ่มกันเลยดีกว่านะครับ ในส่วนที่ 1 เครื่อง Server (เครื่องแม่)
1.1 การ ติดตั้ง Printer
ก่อน อื่นเราจะต้องทำการติดตั้งเครื่อง Printer เสียก่อน บางท่านการติดตั้งเครื่อง Printer นั้นเป็นเรื่องง่าย แต่ผู้คนบางกลุ่ม อาจจะไม่เคยติดตั้ง Printer เลย ดังนั้นผมจึงขอเสนอ ตั้งแต่เริ่มต้นทำการการติดตั้ง Printer
วิธีการติดตั้ง Printer
1.1.1 ให้คุณไปที่ Start >>> Setting >>> Printer and Faxes
1.1.2 เลือก Add Printer
1.1.3 คลิ๊ก Next
1.1.4 เลือกไปที่ Local printer attached this computer และเอาเครื่องหมายถูก ที่ Automatic detect and install my Plug and Play Printer ออก จากนั้น คลิก Next
1.1.5 ในช่อง Use the following port เราสามารถเปลี่ยนเป็น port ที่เราต้องการได้ ในที่นี้ผมไม่เปลี่ยนนะครับ เลยจะได้เป็น LPT1 เหมือนในรูป จากนั้นคลิ๊ก Next นะครับ
1.1.6 ขั้นต่อมาจะเป็นการติดตั้ง Driver ให้กับเครื่อง Printer นะครับ ให้เราเลือกไปที่ Have Disk เพื่อทำการเลือก Driver ให้กับ Printer
1.1.7 เลือก ที่ Browse เพื่อหา Driver ให้กับเครื่อง Printer ซึ่งขึ้นอยู่กับของแต่ละคนว่าอยู่ที่ไหน แต่ส่วนมากจะอยู่ที่ Dive CD Rom ดังนั้น ให้ทำการ Browse ไปที่ Drive Cd Rom นะครับ
1.1.8 เมื่อเจอ Driver แล้ว ทำการ คลิก Next ได้เลยนะครับ
1.1.9 ตรง Printer Name เราสามารถเปลี่ยนชื่อได้ตามที่ต้องการนะครับ เมื่อได้ชื่อที่ต้องการ ให้ คลิก Next
1.2 การ Share Printer
1.2.1 หลังจากที่เราทำมาจนถึง ข้อ 1.1.9 ก็จะมาถึงหน้าที่ เราจะต้องทำการ Share Printer แล้วละครับ
ให้เราตั้งชื่อ เครื่อง Printer ที่เราต้องการ จะ Share ในช่อง Share Name จากนั้นคลิก Next
1.2.2 ตรง Location และ Comment นั้น คุณ จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ แต่ผมแนะนำให้ใส่ เกิดคุณมีเครื่อง Printer หลายตัว การตั้งชื่อและการ บอก Location จะทำให้คุณจดจำมันได้ง่าย
1.2.3 ในหน้าถัดมา มันจะเป็น หน้าทดสอบ การ Print เช่น กันจะทดสอบหรือไม่ก็ได้
ถ้าต้องการ ทดสอบ ให้ คลิกที่ Yes
ถ้าไม่ต้องการทดสอบให้คลิกที่ No
แต่แนะนำให้คลิกที่ Yes เพื่อทำหารทดสอบ เราจะได้รู้ว่า เครื่อง printer สามารถทำงานได้จริงหรือไม่ จากนั้นคลิก Next
1.2.4 เสร็จแล้วละครับ ให้เรา คลิ๊กที่ Finish ได้เลย
1.2.5 ให้เราเข้าไปดูใน Printer and Faxes อีกครั้ง โดยไปที่ Start >>> Setting >>> Printer and Faxes จะเห็นว่าเครื่อง Printer ที่เราเพิ่งได้ทำการติดตั้งไป มีลักษณะของการ Share แล้ว (เป็นรูปมือ)
จบในส่วนที่ 1 ซึ่งเป็นส่วนของ Server เครื่อง Printer แล้วครับ
ส่วนที่ 2 เครื่องลูกหรือเครื่อง Client
2.1 การ Add Printer
ทำได้ง่ายมากคับ ให้คุณไปที่ Start >>>>Run>>>>
2.2
พิมพ์ข้อความ ดังนี้ \\ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรือip ของเครื่องที่เปิด Share print(เครื่อง Server ) เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่งนะครับ
สมมุติว่าผมตั้งชื่อเครื่อง computer ที่เปิด Share Printer ชื่อว่า server01 มี Ip 192.168.0.1
ผมก็จะพิมพ์ข้อความลงไปดังนี้
\\server01
หรือ
\\192.168.0.1
2.3 จากนั้นเราจะเข้าสู่หน้าต่างของเครื่อง Server01 นะครับ
เราจะมองเห็นเครื่อง Printer ที่เครื่อง Server01 ทำการเปิด Share ไว้นะครับ (ที่เราติดตั้งไปในส่วนที่ 1)
2.4 ให้ไปคลิ๊กขวาที่เครื่อง Printer นะครับ จากนั้นเลือก Connect นะครับ และรอซักครู่นะครับ
2.5 ให้เราตรวจสอบอีกครั้งว่าเรา connect printer สำเร็จหรือไม่นะครับ
ไปที่ Start >>> Setting >>>Printer and Faxes เพื่อดูเครื่อง Printer ที่เรา Connect เข้ามา
2.6 ถ้าเห็นว่ามีชื่อเครื่อง Print ที่เราได้ Connect มาเมื่อกี้ก็แสดงว่าเราทำสำเร็จ !!!!
+++ดีใจด้วยนะครับ+++
2.7 ให้เราลอง Print เอกสารนะครับ
เปิดโปรแกรม Word หรือ อะไรก็ได้ที่ มันสามารถสั่ง Print ได้ ลองสั่ง print นะครับ ในกรณีที่คุณใช้โปรแกรม word ให้คุณไปที่ File>> Print >>> เราจะเห็นช่องแรกนะครับ คือช่อง Name ให้เราเลือกเป็นชื่อเครื่อง Printer ที่เราจะทำการสั่ง Print แล้วคลิ๊ก OK ครับ
รอกระดาษอ
ส่วนที่ 1 เครื่อง Server (เครื่องแม่)เป็นเครื่องที่ต้องต่อกับ Printer โดยตรง ซึ่งผมขอตั้งเป็น ชื่อ Server01 (ผมสมมุติขึ้นไม่ต้องตั้งตามก็ได้)
ส่วนที่ 2 เครื่อง Client (เครื่องลูก)
**** หมายเหตุ ผมขอใช้เป็น เครื่อง server เนี่ยะหมายถึงเครื่องที่ต่อ กับ Printer นะครับไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องซื้อเครื่อง Server
เรามาเริ่มกันเลยดีกว่านะครับ ในส่วนที่ 1 เครื่อง Server (เครื่องแม่)
1.1 การ ติดตั้ง Printer
ก่อน อื่นเราจะต้องทำการติดตั้งเครื่อง Printer เสียก่อน บางท่านการติดตั้งเครื่อง Printer นั้นเป็นเรื่องง่าย แต่ผู้คนบางกลุ่ม อาจจะไม่เคยติดตั้ง Printer เลย ดังนั้นผมจึงขอเสนอ ตั้งแต่เริ่มต้นทำการการติดตั้ง Printer
วิธีการติดตั้ง Printer
1.1.1 ให้คุณไปที่ Start >>> Setting >>> Printer and Faxes
1.1.2 เลือก Add Printer
1.1.3 คลิ๊ก Next
1.1.4 เลือกไปที่ Local printer attached this computer และเอาเครื่องหมายถูก ที่ Automatic detect and install my Plug and Play Printer ออก จากนั้น คลิก Next
1.1.5 ในช่อง Use the following port เราสามารถเปลี่ยนเป็น port ที่เราต้องการได้ ในที่นี้ผมไม่เปลี่ยนนะครับ เลยจะได้เป็น LPT1 เหมือนในรูป จากนั้นคลิ๊ก Next นะครับ
1.1.6 ขั้นต่อมาจะเป็นการติดตั้ง Driver ให้กับเครื่อง Printer นะครับ ให้เราเลือกไปที่ Have Disk เพื่อทำการเลือก Driver ให้กับ Printer
1.1.7 เลือก ที่ Browse เพื่อหา Driver ให้กับเครื่อง Printer ซึ่งขึ้นอยู่กับของแต่ละคนว่าอยู่ที่ไหน แต่ส่วนมากจะอยู่ที่ Dive CD Rom ดังนั้น ให้ทำการ Browse ไปที่ Drive Cd Rom นะครับ
1.1.8 เมื่อเจอ Driver แล้ว ทำการ คลิก Next ได้เลยนะครับ
1.1.9 ตรง Printer Name เราสามารถเปลี่ยนชื่อได้ตามที่ต้องการนะครับ เมื่อได้ชื่อที่ต้องการ ให้ คลิก Next
1.2 การ Share Printer
1.2.1 หลังจากที่เราทำมาจนถึง ข้อ 1.1.9 ก็จะมาถึงหน้าที่ เราจะต้องทำการ Share Printer แล้วละครับ
ให้เราตั้งชื่อ เครื่อง Printer ที่เราต้องการ จะ Share ในช่อง Share Name จากนั้นคลิก Next
1.2.2 ตรง Location และ Comment นั้น คุณ จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ แต่ผมแนะนำให้ใส่ เกิดคุณมีเครื่อง Printer หลายตัว การตั้งชื่อและการ บอก Location จะทำให้คุณจดจำมันได้ง่าย
1.2.3 ในหน้าถัดมา มันจะเป็น หน้าทดสอบ การ Print เช่น กันจะทดสอบหรือไม่ก็ได้
ถ้าต้องการ ทดสอบ ให้ คลิกที่ Yes
ถ้าไม่ต้องการทดสอบให้คลิกที่ No
แต่แนะนำให้คลิกที่ Yes เพื่อทำหารทดสอบ เราจะได้รู้ว่า เครื่อง printer สามารถทำงานได้จริงหรือไม่ จากนั้นคลิก Next
1.2.4 เสร็จแล้วละครับ ให้เรา คลิ๊กที่ Finish ได้เลย
1.2.5 ให้เราเข้าไปดูใน Printer and Faxes อีกครั้ง โดยไปที่ Start >>> Setting >>> Printer and Faxes จะเห็นว่าเครื่อง Printer ที่เราเพิ่งได้ทำการติดตั้งไป มีลักษณะของการ Share แล้ว (เป็นรูปมือ)
จบในส่วนที่ 1 ซึ่งเป็นส่วนของ Server เครื่อง Printer แล้วครับ
ส่วนที่ 2 เครื่องลูกหรือเครื่อง Client
2.1 การ Add Printer
ทำได้ง่ายมากคับ ให้คุณไปที่ Start >>>>Run>>>>
2.2
พิมพ์ข้อความ ดังนี้ \\ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรือip ของเครื่องที่เปิด Share print(เครื่อง Server ) เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่งนะครับ
สมมุติว่าผมตั้งชื่อเครื่อง computer ที่เปิด Share Printer ชื่อว่า server01 มี Ip 192.168.0.1
ผมก็จะพิมพ์ข้อความลงไปดังนี้
\\server01
หรือ
\\192.168.0.1
2.3 จากนั้นเราจะเข้าสู่หน้าต่างของเครื่อง Server01 นะครับ
เราจะมองเห็นเครื่อง Printer ที่เครื่อง Server01 ทำการเปิด Share ไว้นะครับ (ที่เราติดตั้งไปในส่วนที่ 1)
2.4 ให้ไปคลิ๊กขวาที่เครื่อง Printer นะครับ จากนั้นเลือก Connect นะครับ และรอซักครู่นะครับ
2.5 ให้เราตรวจสอบอีกครั้งว่าเรา connect printer สำเร็จหรือไม่นะครับ
ไปที่ Start >>> Setting >>>Printer and Faxes เพื่อดูเครื่อง Printer ที่เรา Connect เข้ามา
2.6 ถ้าเห็นว่ามีชื่อเครื่อง Print ที่เราได้ Connect มาเมื่อกี้ก็แสดงว่าเราทำสำเร็จ !!!!
+++ดีใจด้วยนะครับ+++
2.7 ให้เราลอง Print เอกสารนะครับ
เปิดโปรแกรม Word หรือ อะไรก็ได้ที่ มันสามารถสั่ง Print ได้ ลองสั่ง print นะครับ ในกรณีที่คุณใช้โปรแกรม word ให้คุณไปที่ File>> Print >>> เราจะเห็นช่องแรกนะครับ คือช่อง Name ให้เราเลือกเป็นชื่อเครื่อง Printer ที่เราจะทำการสั่ง Print แล้วคลิ๊ก OK ครับ
รอกระดาษอ